วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน มหาลัยปิดเนื่องในโอกาส "วันพ่อแห่งชาติ"
แฟ้มสะสมผลงานวิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 4
วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน 2556
วันนี้เป็นการนำเสนอในเรื่องที่ได้รับมอบหมาย ทั้งหมด 5 กลุ่ม 5 หัวข้อคือ
1. จำนวนและการดำเนินการ
2. การวัด
3. พีชคณิต
4. เรขาคณิต
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1. จำนวน หมายถึง ปริมาณของสิ่งต่างๆซึ่งเป็นสิ่งที่บอกจำนวนมากหรือน้อย
การดำเนินการ หมายถึง การกระทำหรือลำดับขั้นตอนที่สร้างค่าใหม่ขึ้นมาเป็นผลลัพธ์
จำนวนและการดำเนินการ หมายถึง ความคิดรวบยอดและความรู้สึกเชิงจำนวน
คุณภาพทางคณิตศาสตร์ของเด็กอายุ 3-5 ปี
1. มีความรู้ความเข้าใจและมีพํฒนาการด้านความรู้เชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับไม่เกิน 5 มีความ เข้าใจเกี่ยวกับการรวมกลุ่มและการแยกกลุ่ม
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาณ และเวลา สามารถเปรียบเทียบได้
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตำแหน่ง สามารถใช้คำบอกตำแหน่งและแสดงของสิ่งต่างๆ
4. มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สี ที่สัมพันธ์กัน
5. มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูล
ตัวอย่าง
วันนี้เป็นการนำเสนอในเรื่องที่ได้รับมอบหมาย ทั้งหมด 5 กลุ่ม 5 หัวข้อคือ
1. จำนวนและการดำเนินการ
2. การวัด
3. พีชคณิต
4. เรขาคณิต
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1. จำนวน หมายถึง ปริมาณของสิ่งต่างๆซึ่งเป็นสิ่งที่บอกจำนวนมากหรือน้อย
การดำเนินการ หมายถึง การกระทำหรือลำดับขั้นตอนที่สร้างค่าใหม่ขึ้นมาเป็นผลลัพธ์
จำนวนและการดำเนินการ หมายถึง ความคิดรวบยอดและความรู้สึกเชิงจำนวน
คุณภาพทางคณิตศาสตร์ของเด็กอายุ 3-5 ปี
1. มีความรู้ความเข้าใจและมีพํฒนาการด้านความรู้เชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับไม่เกิน 5 มีความ เข้าใจเกี่ยวกับการรวมกลุ่มและการแยกกลุ่ม
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาณ และเวลา สามารถเปรียบเทียบได้
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตำแหน่ง สามารถใช้คำบอกตำแหน่งและแสดงของสิ่งต่างๆ
4. มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สี ที่สัมพันธ์กัน
5. มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูล
ตัวอย่าง
เด็กสามารถบอกจำนวนสิ่งของได้
2. การวัด
การวัด คือ การหาคำตอบเกี่ยวกับ เวลา ระยะทาง น้ำหนักด้วยการจับเวลา การวัดระยะทาง การชั่งน้ำหนักหรือการตวง ซึ่งมีหน่วยที่แน่นอน
แต่ถ้าหากสอนกับเด็กอนุบาลแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างสำหรับการวัดนั้นล้วนไม่มีหน่วย
3. พีชคณิต
เป็นสาขาหนึ่งในสามสาขาหลักทางคณิตศาสตร์ ร่วมกับเลขาคณิตและการวิเคราะห์ พีชคณิตเป็นการศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้าง ความสัมพันธ์และจำนวน
พีชคณิตสำหรับเด็กปฐมวัย คือ รูปแบบและความสัมพันธ์ในแบบรูปที่มีรูปร่างขนาด หรือสีที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตัวอย่าง ให้เด็กแยกรูปนี้
เด็กก้สามารถแยกได้ออกมาดังนี้ แยกด้วยสี
4. เลขาคณิต
รูปร่างรูปทรงที่จะนำมาสอนเด็กปฐมวัย คือส่งเสริมโดยการจัดมุมการเรียนรู้สนับสนุนให้เด็กเรียนรู้เรื่องรูปร่าง รูปทรง เช่น มุมบล็อก บทบาทสมมุติ มุมหนังสือ เป็นต้น
ครูควรจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเรื่องรูปร่าง รูปทรง ในหน่วยต่างๆ เด็กสามารถสังเกตุสิ่งที่อยู่รอบตัว
ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ ฝึกให้เด็กได้คิด โดยมีเลขาคณิตเป็นเป็นสื่อ
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการเปรียบเทียบและจำแนกหรือแบ่งเป็นกลุ่มที่มีความคล้ายกัน และกลุ่มที่มีความแต่งต่างออกไป ต่อมาเด็กสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลไปสู่รูปแบบที่แตกต่างกัน เช่น ตาราง กราฟ แผนภูมิ หรือ วิธีการอื่นๆ
เช่นตัวอย่าง
เด็กนำชื่อเล่นของตัวเองมาแปะตามตัวอักษรหน้าที่อยู่ด้านล่างโดยการเปรียบเทียบ และต่อกันเป็นกราฟดั่งในรูป
ความรู้ทั้งหมดที่ได้เรียนไปในวันนี้ สามารถนำไปปรับใช้และต่อยอดทางการศึกษาได้ สามารถประยุกต์และนำมาเป็นการเรียนการสอนในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 3
วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน 2556
วันนี้เรียนโดยมี power point และอาจารย์อธิบายเนื้อหา ซึ่งเนื้อหาหาการสอนในครั้งนี้ บอกถึงจุดมุ่งหมายของการสอนวิชาคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และได้ทราบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กด้วยว่ามี 7 ขั้น คือ
1. การสังเกต Observation
2. การจำแนกประเภท Classifying
3. การเปรียบเทียท Comparing
4. การจัดลำดับ Ordering
5. การวัด Measurement
6. การนับ Counting
7. รูปทรงและขนาด Sharp and Size
และได้รู้ว่า การวัดของเด็กปฐมวัยไม่ใช้หน่อยมาตรฐานในการวัด
และมีคำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาตร์ด้วย
วันนี้เรียนโดยมี power point และอาจารย์อธิบายเนื้อหา ซึ่งเนื้อหาหาการสอนในครั้งนี้ บอกถึงจุดมุ่งหมายของการสอนวิชาคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และได้ทราบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กด้วยว่ามี 7 ขั้น คือ
1. การสังเกต Observation
2. การจำแนกประเภท Classifying
3. การเปรียบเทียท Comparing
4. การจัดลำดับ Ordering
5. การวัด Measurement
6. การนับ Counting
7. รูปทรงและขนาด Sharp and Size
และได้รู้ว่า การวัดของเด็กปฐมวัยไม่ใช้หน่อยมาตรฐานในการวัด
และมีคำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาตร์ด้วย
และมีตัวอย่างภาพนี้คือ ปูน้อยสีแดง ถามเด็กว่าเห็นอะไรจากภาพบ้าง
และเราอาจจะได้คำตอบจากเด็กแบบนี้
กิจกรรมท้ายคาบคือ วาดรูปวงกลม 1 วง แล้วเขียนเลขที่ชอบ 1 เลขตรงกลาง
จากนั้นอาจารย์ก้เฉลยว่า ให้วาดกลีบตามจำนวนเลขที่เขียนไป และก้ออกมาเป็นผลงานชิ้นนี้
ความรู้ที่ได้รับ
ได้ทราบจุดมุ่งหมายในการสอนรายวิชานี้ ได้รู้ว่าทักษะพื้นฐานของเด็กมี 7 อย่าง อะไรบ้าง ได้ทราบว่าเด็กจะเข้าใจคณิตศาสตร์ได้อย่างไร ไม่ใช่คำศัพท์เชิงวิชาการแบบผู้ใหญ่ แต่เด็กก้สามารถบอกเชิงคณิตศาสตร์ได้ด้วยคำศัพท์เหล่านั้นได้ และได้กิจกรรมในการสอนเด็กอีก 1 อย่างคือกิจกรรมของวันนี้คือ ดอกไม้และจำนวนกลีบ
วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 2
วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤศจิกายน 2556
วันนี้มีการเรียนทฤษฎี สอนเกี่ยวกับความหมายว่าเป็นระบบความคิดของมนุษย์อย่างมีเหตุผล โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ การพูด การเขียน และเป็นการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวน ตัวเลข การคิดคำนวณ เป็นต้น ความสำคัญของรายวิชานี้ว่าเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในวิชาต่างๆต่อไปได้ และได้พูดถึงทฤษฎีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย ตามแนวคิดของเพียเจต์ เด็กสามารถพัฒนาการอนุรักษ์ได้โดย การนับ การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง การเปรียบเทียบรูปทรง ปริมาตร เรียงลำดับ จัดกลุ่ม และมีการยกตัวอย่างเช่น
ให้เขาตอบตามความคิดของเขา จากนั้นเราก้สอนเขาว่ามันเท่ากันนะ โดยการ นับ หรือ จับคู่หนึ่งต่อหนึ่งให้เข้าได้เข้าใจ เพราะเด็กจะให้ความสำคัญกับสิ่งที่สังเกตุและรับรู้ได้ชัดเจน
เมื่อสอนทฤษฎีเรียบร้อยแล้วอาจารย์เบียร์ก้ให้วาดรูปสัตว์ที่มีขา ถ้ามีขาเยอะได้ยิ่งดี ดิฉันจึงวาดหมี
เมื่อวาดสำเร็จอาจารย์เบียร์ก้บอกให้นักศึกษาใส่รองเท้าให้เจ้าตัวที่เราวาดด้วย
โชคดีที่ของดิฉันมีแค่ 3 ขา ตัดนิดเดียวก้เสร็จ แต่ของเพื่อนที่นั่งข้างๆวาดตะขาบ 32 ขา ตัดกันมันมือเลย
กิจกรรมท้ายคาบนี้ก้จะนำไปสอนเด็กปฐมวัยได้เช่นกัน เช่นการนับเท้า การมีความคิดสร้างสรรค์ หรืออาจจะนำไปประยุกต์ใช้ในรูปแบบอื่นได้ เช่นให้วาดแขนแล้วใส่ถุงมือ เป็นต้น
ความรู้ที่ได้รับ
ได้ทราบถึงทฤษฎี ความหมาย ความสำคัญของรายวิชานี้ ทั้งยังได้กิจกรรมที่จะนำไปสอน หรือประยุกต์ใช้ในภายภาคหน้าได้ ได้รู้แนวความคิดของเด็ก แนวการสอนของคุณครูว่าควรสอนเด็กด้วยวิธีใด ^^
อาจารย์ประจำวิชาที่น่ารักกกกกกก
วันนี้มีการเรียนทฤษฎี สอนเกี่ยวกับความหมายว่าเป็นระบบความคิดของมนุษย์อย่างมีเหตุผล โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ การพูด การเขียน และเป็นการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวน ตัวเลข การคิดคำนวณ เป็นต้น ความสำคัญของรายวิชานี้ว่าเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในวิชาต่างๆต่อไปได้ และได้พูดถึงทฤษฎีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย ตามแนวคิดของเพียเจต์ เด็กสามารถพัฒนาการอนุรักษ์ได้โดย การนับ การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง การเปรียบเทียบรูปทรง ปริมาตร เรียงลำดับ จัดกลุ่ม และมีการยกตัวอย่างเช่น
มีก้อนหินอยู่ 2 กอง เท่าๆกัน แต่จัดไว้แบบในรูป ถามเด็กๆว่าเห็นอะไรบ้าง ถามแบบปลายเปิด
ให้เขาตอบตามความคิดของเขา จากนั้นเราก้สอนเขาว่ามันเท่ากันนะ โดยการ นับ หรือ จับคู่หนึ่งต่อหนึ่งให้เข้าได้เข้าใจ เพราะเด็กจะให้ความสำคัญกับสิ่งที่สังเกตุและรับรู้ได้ชัดเจน
เมื่อสอนทฤษฎีเรียบร้อยแล้วอาจารย์เบียร์ก้ให้วาดรูปสัตว์ที่มีขา ถ้ามีขาเยอะได้ยิ่งดี ดิฉันจึงวาดหมี
เมื่อวาดสำเร็จอาจารย์เบียร์ก้บอกให้นักศึกษาใส่รองเท้าให้เจ้าตัวที่เราวาดด้วย
โชคดีที่ของดิฉันมีแค่ 3 ขา ตัดนิดเดียวก้เสร็จ แต่ของเพื่อนที่นั่งข้างๆวาดตะขาบ 32 ขา ตัดกันมันมือเลย
กิจกรรมท้ายคาบนี้ก้จะนำไปสอนเด็กปฐมวัยได้เช่นกัน เช่นการนับเท้า การมีความคิดสร้างสรรค์ หรืออาจจะนำไปประยุกต์ใช้ในรูปแบบอื่นได้ เช่นให้วาดแขนแล้วใส่ถุงมือ เป็นต้น
ความรู้ที่ได้รับ
ได้ทราบถึงทฤษฎี ความหมาย ความสำคัญของรายวิชานี้ ทั้งยังได้กิจกรรมที่จะนำไปสอน หรือประยุกต์ใช้ในภายภาคหน้าได้ ได้รู้แนวความคิดของเด็ก แนวการสอนของคุณครูว่าควรสอนเด็กด้วยวิธีใด ^^
วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 1
วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน 2556
วันนี้เป็นการเจอกันครั้งแรกของรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ มีการแจก Course Syllabus
เป็นการปฐมนิเทศครั้งแรก พูดคุยเกี่ยวกับรายละเอียดในรายวิชา ว่ามีอะไรบ้าง คะแนนจะได้จากส่วนใดบ้าง
วันนี้เป็นการเจอกันครั้งแรกของรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ มีการแจก Course Syllabus
เป็นการปฐมนิเทศครั้งแรก พูดคุยเกี่ยวกับรายละเอียดในรายวิชา ว่ามีอะไรบ้าง คะแนนจะได้จากส่วนใดบ้าง
จากนั้นอาจารย์เบียร์ก้ให้นำความรู้เดิมที่มีทำเป็น mapping ในหัวข้อ การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย จึงออกมาเป็นผลงานอันนี้
อาจจะมองไม่ค่อยเห็น เพราะเขียนด้วยปากกาสีต่างๆ
ความรู้ที่ได้รับ คือ การได้ทบทวนความรู้จากการเรียนในรายวิชาต่างๆมาประยุกต์ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย หากเรียนในเบื้องลึกก้จะสามารถนำมาใช้ได้ในอนาคตหรือประยุกต์ใช้ในแต่ละวันได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)